มิติหุ้น – ตลาดหุ้นไทยในช่วงสัปดาห์ที่ผ่ านมาได้มีการปรับตัวลดลงหลั งจากที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นมาอย่ างต่อเนื่อง โดยปิดที่ระดับ 1,612.98 จุด ซึ่งยังคงได้รับแรงกดดั นจากจำนวนผู้ติดโรคโควิด-19 ที่ยังอยู่ในระดับสูงแม้ว่าจะมี ความคืบหน้าเกี่ยวกับการแจกจ่ ายวัคซีนต้านโรคโควิด-19 ที่เข้ามาแต่ยังคงมีความล่าช้า ในขณะที่กลุ่มรับเหมาได้มี แรงขายออกมาหลังจากที่หุ้นในกลุ่ มนี้ได้ปรับตัวเพิ่มขึ้ นจากการประมูลงานจากภาครัฐในช่ วงที่ผ่านมา ทั้งนี้การที่นายกรัฐมนตรี ของไทยได้มีแผนที่จะเปิ ดประเทศให้ได้ภายใน 120 วัน อาจส่งผลในเชิงบวกต่อกลุ่มที่ ได้รับผลกระทบจากการแพร่ ระบาดของโรคโควิด-19 และหุ้นในกลุ่ม Re-opening อย่างไรก็ตาม ยังคงต้องติดตามความคืบหน้ าในการฉีดวัคซีนภายในประเทศที่ จะเป็นตัวเร่งกิจกรรมทางเศรษฐกิ จที่มีความสำคัญ ดังนั้นนักลงทุนที่สนใจลงทุ นในตลาดหุ้นไทยอาจต้ องชะลอการลงทุนในตลาดดังกล่ าวออกไปก่อนในช่วงนี้จากจำนวนผู้ ติดเชื้อที่อยู่ในระดับสูง ประกอบกับการแจกจ่ายวัคซีนที่ยั งคงล่าช้า รวมถึงการที่ตลาดหุ้นไทยยังไม่ ได้มีปัจจัยหนุนใหม่ ๆ ที่ชัดเจนเข้ามา และสำหรับนักลงทุนที่ยังมีสัดส่ วนการลงทุนในตลาดหุ้นไทย อาจอาศัยจังหวะการปรับตัวขึ้ นของดัชนีตลาดหุ้ นไทยในการทยอยขายเพื่ อทำกำไรและลดสัดส่วนการลงทุนลง
ตลาดหุ้นต่างประเทศ
ผลตอบแทนตลาดหุ้นโดยรวมปรับตั วลดลงในช่วงสัปดาห์ที่ผ่านมา จากความกังวลเกี่ยวกับแนวโน้ มของดอกเบี้ย หลังจากผลการประชุ มคณะกรรมการกำกับนโยบายการเงิ นของธนาคารกลางสหรัฐฯ (FED) สะท้อนให้เห็นถึงโอกาสในการปรั บขึ้นอัตราดอกเบี้ยเร็วกว่ าคาดจากเดิมในปี 2024 จากการประชุมในเดือน มี.ค. เป็นอย่างน้อยสองครั้งในปี 2023 และคาดว่าเงินเฟ้อจะปรับสูงกว่ าเป้าหมายที่ร้อยละ 2.0 อย่างน้อยเป็นระยะเวลา 3 ปี ซึ่งเป็นผลมาจากการที่เศรษฐกิ จมีแนวโน้มขยายตัวได้ดีกว่าคาด ทำให้ตลาดเกิ ดแรงเทขายทำกำไรลงมาหลั งตลาดโดยรวมปรับตัวอยู่ในระดั บใกล้จุดสูงสุดในช่วงก่อนหน้า ในขณะที่ทางฝั่งยุโรปตลาดได้ ทำจุดสูงสุดใหม่ช่วงกลางสัปดาห์ ก่อนปรับตัวลงจากปัจจัยแนวโน้ มอัตราดอกเบี้ยเช่นกัน เรายังคงมองว่าตลาดยุโรปน่ าจะเติบโตได้อยู่เนื่ องจากแนวโน้มเศรษฐกิจที่กลั บมาฟื้นตัวอย่างต่อเนื่อง แนะนำกระจายการลงทุนในหุ้นกลุ่ มวัฐจักรขนาดใหญ่ที่ได้ประโยชน์ จากการฟื้นตัวของเศรษฐกิจและหุ้ นในฝั่งยุโรปเนื่องจากมูลค่าพื้ นฐานยังอยู่ในระดับที่น่าสนใจ
ตลาดตราสารหนี้
ผลตอนแทนพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯ อายุคงเหลือ 10 ปี ในสัปดาห์ที่ผ่านมา มีการปรับตัวลง 1.5 bps สู่ระดับ 1.438 % โดยระหว่างสัปดาห์ ผลตอบแทนพันธบัตรมีการดีดตัวขึ้ นหลังการประชุ มของธนาคารกลางสหรัฐฯ จากความกังวลต่อแนวโน้มการปรั บขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ อาจเกิดเร็วขึ้น แต่ในช่วงท้ายสัปดาห์ ผลตอบแทนพันธบัตรมีการปรับตั วลดลงจากแรงซื้อกลับของนักลงทุน หลังดัชนี US 10 Year Breakeven Inflation มีการปรับตัวลดลง ซึ่งสะท้อนถึงความกังวลของนั กลงทุนที่น้อยลงต่อการปรับตัวขึ้ นของอัตราเงินเฟ้อในอนาคต สำหรับนักลงทุนที่รับความเสี่ ยงได้ต่ำยังคงแนะนำรักษาสัดส่ วนการลงทุนในตราสารหนี้เพื่ อกระจายความเสี่ยงของพอร์ ตการลงทุนและสร้างผลตอบแทนที่มั่ นคง โดยแนะนำลงทุนในหุ้นกู้ที่มีอั นดับความน่าเชื่อถืออยู่ในระดับ Investment Grade เนื่องจากมีความเสี่ยงต่อการผิ ดนัดชำระหนี้ที่ต่ำ
ตลาดสินทรัพย์ทางเลือก
สัญญาทองคำตลาด COMEX (Commodity Exchange) ส่งมอบเดือน ส.ค. ปิดที่ 1.865.9 ดอลลาร์ สรอ./ออนซ์ ปรับตัวลดลง 6.04 % เมื่อเทียบกับสัปดาห์ก่อน โดยได้รับแรงกดดันจากอั ตราผลตอบแทนพันธบัตรสหรัฐที่ดี ดตัวขึ้น และจากการที่นักลงทุนระมัดระวั งการซื้อขายก่อนการประชุ มนโยบายการเงิ นของธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) ในวันที่ 15-16 มิ.ย. ราคาทองคำปรับตั วลดลงจากแรงเทขายทำกำไรหลั งจากปรับตัวบวกมาอย่างต่อเนื่ องหลายสัปดาห์ติดต่อกัน ถึงแม้ตัวเลขเงินเฟ้อของสหรัฐฯ ที่ประกาศออกมาจะยังอยู่ในระดั บสูงก็ตาม แต่นักลงทุนเริ่มคลายความกั งวลและมองว่าน่าจะเป็นแค่ภาวะชั่ วคราว สำหรับนักลงทุนระยะยาว แนะนำให้คงสัดส่วนการลงทุน 3-5% ของพอร์ตการลงทุน เพื่อกระจายความเสี่ ยงโดยรวมของพอร์ตการลงทุน
สัญญาน้ำมันดิบ WTI ส่งมอบเดือน ก.ค. ปิดที่ 72.29 ดอลลาร์ สรอ./บาร์เรล ปรับตัวเพิ่มขึ้น 1.23% เมื่อเทียบกับสัปดาห์ก่อน ราคาน้ำมันปรับตัวเพิ่มขึ้ นแตะระดับสูงสุดในรอบเกือบ 3 ปี ได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการที่ IEA คาดการณ์อุปสงค์น้ำมันทั่ วโลกจะกลับคืนสู่ระดับก่อนเกิ ดการแพร่ระบาดได้ภายในสิ้นปีหน้ า โดยคาดว่าอุปสงค์จะปรับตัวขึ้ นแตะระดับ 100.6 ล้านบาร์เรล/วัน นอกจากนี้ทาง Goldman Sachs ได้เปิดเผยว่า อัตราการฉีดวัคซีนที่เพิ่มขึ้ นช่วยให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจกลั บมาเปิดได้อีกครั้ง สะท้อนจากความต้องการใช้น้ำมั นทั่วโลกในเดือน พ.ค. เพิ่มขึ้นแตะระดับ 96.5 ล้านบาร์เรล/วัน และคาดว่า จะพุ่งขึ้นแตะระดับ 99 ล้านบาร์เรล/วันในเดือน ส.ค. นี้ แนะนำให้คงสัดส่วนการลงทุน โดยมีเป้าหมายราคาที่ระดับ 74 ดอลลาร์ สรอ./บาร์เรล
สัปดาห์ที่ผ่านมา Bond Yield ทั่วโลกปรับตัวลดลงสอดคล้องกัน แม้ตัวเลขอัตราเงินเฟ้อสหรัฐฯ ที่ประกาศออกมายังคงอยู่ในระดั
การจัดสรรสินทรัพย์ลงทุ
ภาพรวมของตลาดหลักทรัพย์ส่ วนใหญ่ทั่วโลกปรับตัวลดลง และกลับเข้าสู่ภาวะ Risk-Off จากความกังวลเกี่ยวกับแนวโน้ มของดอกเบี้ย หลังจากผลการประชุ มคณะกรรมการกำกับนโยบายการเงิ นของธนาคารกลางสหรัฐฯ (FED) สะท้อนให้เห็นถึงโอกาสในการปรั บขึ้นอัตราดอกเบี้ยเร็วกว่ าคาดจากเดิมในปี 2024 จากการประชุมในเดือน มี.ค. เป็นอย่างน้อย 2 ครั้งในปี 2023 และคาดว่าเงินเฟ้อจะปรับสูงกว่ าเป้าหมายที่ร้อยละ 2.0 อย่างน้อยเป็นระยะเวลา 3 ปี ซึ่งเป็นผลมาจากการที่เศรษฐกิ จมีแนวโน้มขยายตัวได้ดีกว่าคาด สะท้อนจากประมาณการอั ตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจที่ คาดว่าจะเติบโตร้อยละ 7.0 เมื่อเทียบกับที่เคยคาดไว้เพี ยงร้อยละ 6.5 จากปัจจัยดังกล่าวทำให้มี แรงเทขายออกมาในช่วงท้ายสัปดาห์ ทั้งในส่วนของประเทศที่พัฒนาแล้ วและกำลังพัฒนา โดยในส่วนของกลุ่มเอเชีย หุ้นจีนยังเผชิญแรงขายมากกว่ าประเทศอื่น ๆ จากเรื่องของการประกาศตั วเลขเศรษฐกิจ เช่น ดัชนีการผลิตภาคอุตสาหกรรม ที่ออกมาต่ำกว่านักวิเคราะห์ คาดไว้ ประกอบกับประเด็นเรื่ องของการแทรงแซงตลาดของรัฐบาลจี นต่อการทำธุรกิจต่าง ๆ ยังมีอยู่อย่างต่อเนื่อง ในส่วนของยุโรปแม้ดัชนี EURO STOXX600 จะทำสถิติใหม่สูงสุดช่วงกลางสั ปดาห์ จากการปรับเพิ่มขึ้นของกลุ่ มพลังงานตามทิศทางราคาน้ำมัน และหุ้นกลุ่มสันทนาการจากการเปิ ดรับนักท่องเที่ยวและนโยบายผ่ อนคลายต่าง ๆ แต่ปิดทั้งสัปดาห์ปิดปรับตั วลดลงจากประเด็นเรื่องของแนวโน้ มดอกเบี้ยเช่นกัน ทำให้ภาพรวมในสัปดาห์ที่แล้วเรื่ องของดอกเบี้ยกลับมาเป็นประเด็ นสำคัญอีกครั้ง และยังต้องจับตาดูการเปลี่ ยนแปลงและความผันผวนในตลาดพั นธบัตรอย่างต่อเนื่อง
เรามองว่าความผันผวนอาจเพิ่มสู งขึ้นได้ในระยะสั้น แต่ก็อาจทำให้มี โอกาสในการทยอยสะสมกองทุนที่น่ าสนใจ เนื่องจากโอกาสที่นโยบายการเงิ นจะลดความผ่อนคลายมากกว่าระดั บที่มีการสื่อสารในปัจจุบันนั้ นมีโอกาสน้อย ในขณะที่เศรษฐกิจยังมีแนวโน้ มขยายตัวได้ดีอย่างต่อเนื่อง และจะส่งผลให้ผลประกอบการของบริ ษัทจดทะเบียนต่าง ๆ ยังอยู่ในเกณฑ์ดี กลยุทธ์สำคัญยังเป็ นการกระจายการลงทุนให้สอดคล้ องกับธีมของการฟื้นตั วของเศรษฐกิจโลก เรายังคงแนะนำทยอยสะสมกองทุนหลั ก ได้แก่ กองทุนเปิดวรรณ อัลติเมท
โกลบอล โกรว์ธ (ONE-UGG-RA) กองทุนเปิดเคแทม ยูโรเปียน อิควิตี้ ฟันด์ (KT-EURO) ในขณะที่ฝั่งเอเชียยังเน้ นการลงทุนในจีนและเวียดนามได้ แก่ กองทุนเปิดกรุงศรีไชน่าเอแชร์อิ ควิตี้ (KFACHINA-A) และกองทุนเปิด
พรินซิเพิล เวียดนาม อิควิตี้ (PRINCIPAL VNEQ-A)
ในสัปดาห์นี้ติดตามประเด็ นความผัวผวนในตลาดพันธบัตร การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 และการกลายพันธ์ รวมถึงตัวเลขเศรษฐกิจสำคัญ ๆ ได้แก่ ดัชนีผู้จัดการฝ่ายซื้ อภาคการผลิต (Manufacturing PMI) เดือน มิ.ย. ของสหรัฐฯ และยุโรป ยอดคำสั่งซื้อสินค้าคงทน (Core Durable Goods Orders) ของสหรัฐฯ รวมถึงผลการประชุมนโยบายการเงิ นของธนาคารกลางญี่ปุ่น (BoJ) การประกาศอัตราดอกเบี่ย Loan Prime Rate (LPR) ของจีน และผลการประชุมนโยบายการเงิ นของธนาคารแห่งประเทศไทย
www.mitihoon.com