มิติหุ้น – EIC คาด กนง. คงดอกเบี้ยนโยบายที่ 0.5% ต่อเนื่องในปี 2021
· กนง. มีมติเอกฉันท์ให้คงอัตราดอกเบี้
· กนง. ประเมินว่า สภาพคล่องโดยรวมอยู่ในระดับสู
· EIC มองว่าเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้
· การดำเนินมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิ
กนง. มีมติเอกฉันท์ให้คงอัตราดอกเบี้
- เศรษฐกิจไทยขยายตัวได้ แต่ต่ำกว่าประมาณการเดิม เนื่องจากในระยะสั้นได้รั
บผลกระทบจากการระบาดระลอกใหม่ ของ COVID-19 ซึ่งมาตรการควบคุมการระบาดมี ความเข้มข้นและกว้างกว่าที่ ประเมินไว้เดิม นอกจากนี้ จำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติ และรายจ่ายของภาครัฐในปี งบประมาณ 2022 ก็มีแนวโน้มต่ำกว่าที่ ประมาณการไว้ อย่างไรก็ดี ผลกระทบนั้นไม่รุนแรงเท่ากั บการระบาดระลอกแรกจากมาตรการควบ คุมการระบาดที่ไม่เข้มงวดเท่ าครั้งก่อน ผนวกกับเศรษฐกิจยังได้รั บแรงกระตุ้นจากมาตรการของภาครั ฐที่ออกมาได้เร็วและตรงจุด และการส่งออกที่ฟื้นตัวดีขึ้ นในเกือบทุกหมวดสินค้า - การฟื้นตัวของเศรษฐกิจยังมี
ความไม่แน่นอนสูง และการฟื้นตัวของแต่ ละภาคเศรษฐกิจมีความแตกต่างกั นมากขึ้น โดยในระยะสั้นการฟื้นตั วของเศรษฐกิจขึ้นอยู่กั บสถานการณ์และมาตรการควบคุ มการแพร่ระบาดของ COVID-19 ระลอกใหม่ ขณะที่ในระยะถัดไปขึ้นอยู่กั บการกลับมาของนักท่องเที่ยวต่ างชาติ ประสิทธิผลและการกระจายวัคซีนป้ องกัน COVID-19 แรงสนับสนุนจากภาครัฐที่เพี ยงพอและต่อเนื่อง และตลาดแรงงานที่เปราะบางขึ้น ทำให้จำนวนผู้ว่างงานและเสมื อนว่างงานมีแนวโน้มสูงขึ้ นในระยะสั้น นอกจากนี้ การฟื้นตัวของแต่ละภาคเศรษฐกิ จที่แตกต่างกันมากขึ้นจะส่งผลต่ อความยั่งยืนของการเติ บโตทางเศรษฐกิจในระยะต่อไป - ระบบการเงินมีเสถียรภาพแต่มี
ความเปราะบางมากขึ้นในบางจุ ดจากผลกระทบของการระบาดระลอกใหม่ โดยเฉพาะกลุ่มครัวเรือนที่มี รายได้น้อยและธุรกิจ SMEs - อัตราเงินเฟ้อทั่วไปจะกลับเข้
าสู่กรอบเป้าหมายในช่วงกลางปี 2021 และจะอยู่ใกล้เคียงกับขอบล่ างของกรอบเป้าหมายตลอดช่ วงประมาณการ โดยการคาดการณ์อัตราเงินเฟ้ อในระยะปานกลางยังยึดเหนี่ยวอยู่ ในกรอบเป้าหมาย
กนง. ประเมินว่าสภาพคล่องโดยรวมอยู่
กนง.ระบุว่าความต่อเนื่
ธปท. ได้ประเมินกลุ่มธุรกิจที่จำเป็
- กลุ่มที่มีรายได้ลดลงมากทั้
งสองช่วงคือ ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับภาคการท่ องเที่ยวต่างประเทศ เช่น ธุรกิจโรงแรม สายการบิน และคอนโดฯ ที่เน้นลูกค้าต่างชาติ และมีอุปทานส่วนเกินค่อนข้างสูง โดยธุรกิจกลุ่มนี้ยังต้องเผชิ ญกับความไม่แน่นอนต่อช่ วงเวลาในการเปิดประเทศและอั ตราการฟื้นตัวของนักท่องเที่ ยวต่างชาติ - กลุ่มธุกิจที่มีรายได้ลดลงชั่
วคราวในช่วงการระบาดระลอกใหม่ คือ ธุรกิจค้าปลีก ร้านอาหาร และธุรกิจก่อสร้างของ SME โดยสองกลุ่มที่กล่าวไปข้างต้นนี้ ต้องการมาตรการช่วยเหลือที่ “เหมาะสม ตรงจุด และเพียงพอ” ในระยะต่อไป
กนง. ยังคงให้น้ำหนักกับการสนับสนุ
EIC มองว่าเศรษฐกิจไทยมีแนวโม้มฟื้
- เศรษฐกิจโลกมีแนวโน้มขยายตั
วชะลอลงในไตรมาสแรกปีนี้ แต่จะกลับมาฟื้นตัวได้ ตามคาดในไตรมาสสองเป็นต้นไป ทำให้การส่งออกไทยอาจขยายตัวต่ำ กว่าคาดการณ์เดิมเล็กน้อย โดยการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกมี แนวโน้มชะลอลงในช่ วงไตรมาสแรกของปี 2021 จากการระบาดระลอกใหม่ของ COVID-19 ในหลาย ๆประเทศ ทำให้ภาครัฐต้องดำเนิ นมาตรการควบคุมโรคที่เข้มงวดขึ้ น อย่างไรก็ดี ภาครัฐของหลาย ๆ ประเทศรวมถึงไทยต่างหลีกเลี่ ยงมาตรการปิดเมืองแบบทั่วประเทศ ทำให้ภาคการผลิตยังสามารถดำเนิ นการได้ นอกจากนี้ ภาครัฐยังได้ออกมาตรการกระตุ้ นเศรษฐกิจเพิ่มเติม ทำให้ ผลกระทบของการระบาดระลอกใหม่ต่ อเศรษฐกิจโลกจะมีน้อยกว่ าการระบาดระลอกแรก สำหรับในไตรมาสที่ 2 เป็นต้นไป คาดว่าเศรษฐกิจโลกจะสามารถกลั บมาฟื้นตัวได้ตามคาด จากการฉีดวัคซีนในบางประเทศ และแนวโน้มการผ่อนคลายมาตรการปิ ดเมือง โดย IMF ได้ปรับประมาณการการขยายตั วของเศรษฐกิจโลกปี 2021 เป็น 5.5% (จาก 5.2%) และคาดว่าการค้าโลกปี 2021 จะขยายตัวที่ 8% ด้วยแนวโน้มเศรษฐกิจโลกที่ อาจชะลอลงในไตรมาสแรก ประกอบกับปัญหาการขาดแคลนตู้ คอนเทนเนอร์ของผู้ส่งออกไทย EIC จึงปรับคาดการณ์ส่งออกไทยเป็ นขยายตัวที่ 4.0% (จากเดิมที่เคยคาดไว้ที่ 4.7%) - ภาคการท่องเที่ยวไทยจะยังไม่ฟื้
นตัวนัก เนื่องจากการเปิดประเทศของกลุ่ มนักท่องเที่ยวหลักของไทยมี แนวโน้มช้ากว่าคาด EIC คาดว่าไทยจะเริ่มเปิดรับนักท่ องเที่ยวต่างชาติ โดยไม่ต้องกักตัวในไตรมาสที่ 3 ปี 2021 ให้กับนักท่องเที่ยวที่ได้รั บการฉีดวัคซีนและต้องผ่ านการตรวจไม่พบเชื้อไวรัสในร่ างกายแล้วเท่านั้น ทั้งนี้ กลุ่มประเทศที่ฉีดวัคซีนให้ ประชากรได้เป็ นจำนวนมากในไตรมาสที่ 3 ของปี 2021 ส่วนใหญ่จะเป็นประเทศพัฒนาแล้ วที่อยู่ในทวีปยุโรปและอเมริ กาเหนือ ซึ่งมีสัดส่วนการเดินทางมาท่ องเที่ยวในไทยไม่มากนัก แต่ประเทศในเอเชีย (ซึ่งมีสัดส่วนราว 3 ใน 4 ของจำนวนนักท่องเที่ยวที่ มาไทยทั้งหมด) จะมีภูมิคุ้มกันหมู่ล่าช้ากว่ านั้น โดยคาดว่าทางการจีนจะอนุญาตให้ ประชาชนของตนเดินทางไปต่ างประเทศได้อีกครั้งอย่างเร็ว
ในไตรมาสที่ 4 ของปี 2021 ซึ่งช้ากว่าที่เคยคาดไว้เดิม ดังนั้น EIC จึงคาดว่าจะมีจำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติในปี 2021 เพียง 3.7 ล้านคน - การระบาดรอบใหม่ในไทยจะส่
งผลกระทบต่อการบริโภคภาคเอกชน โดยคาดว่าผลกระทบจะน้อยกว่ าการระบาดในรอบแรก แต่มีแนวโน้มซ้ำเติมปัญหาแผลเป็ นทางเศรษฐกิจที่มีอยู่ก่อนหน้า โดยภาครัฐไทยได้ดำเนิ นมาตรการควบคุ มการระบาดในแนวทางที่สอดคล้องกั บต่างประเทศ และภาคธุรกิจไทยก็ได้ปรับตัวรั บมือกับการระบาดแล้วเช่นกัน อีกทั้งยังมีเม็ดเงินจากภาครั ฐและมาตรการทางการเงินที่ช่ วยพยุงเศรษฐกิ จและบรรเทาผลกระทบจากรายได้ที่ ขาดหายไปของครัวเรือนได้ระดั บหนึ่ง ทำให้ผลกระทบต่ออุปสงค์ ภายในประเทศน่าจะไม่รุนแรงเท่ ากับการระบาดระลอกแรก อย่างไรก็ดี ผลจากการแพร่ระบาดรอบใหม่นี้ อาจซ้ำเติมปัญหาแผลเป็ นทางเศรษฐกิจโดยเฉพาะผู้ ประกอบการ SME และแรงงานในธุรกิจด้านบริการที่ มีความเปราะบางอยู่แล้ว
ด้วยเหตุนี้ กนง. จึงน่าจะคงอัตราดอกเบี้
คู่ค้าคู่แข่ง ซึ่งอาจกระทบต่อการฟื้นตัวของอุ
การดำเนินมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิ
- มาตรการภาครัฐจะมีบทบาทสำคัญต่
อการพยุงเศรษฐกิจมากขึ้น โดยการดำเนินนโยบายควรจะมุ่งเป้ าช่วยเหลือกลุ่มผู้ที่ได้รั บความเดือดร้อนเป็นพิเศษ ซึ่งในปัจจุบัน ภาครัฐยังมีเม็ดเงินที่ สามารถพยุงเศรษฐกิจได้คิดเป็ นวงเงินราว 6.4 แสนล้านบาท แบ่งเป็นเม็ดเงินจาก พรก. กู้เงิน 1 ล้านล้านบาท ที่เหลือราว 5 แสนล้านบาท และเม็ดเงินในส่วนของงบกลางอี กประมาณ 1.4 แสนล้านบาท (งบกลางเพื่อช่วยเหลือผู้ได้รั บผลกระทบจาก COVID-19 4 หมื่นล้านบาท และงบกลางเพื่อกรณีฉุกเฉิน 9.9 หมื่นล้านบาท) - นโยบายการเงินอาจถูกผ่อนคลายเพิ่
มเติมผ่านเครื่องมืออื่ นนอกจากดอกเบี้ยนโยบาย โดยล่าสุด ธปท. ได้ต่ออายุมาตรการช่วยเหลือลู กหนี้ออกไปจนถึงมิถุนายน ปี 2021 ซึ่งมาตรการนี้จะช่วยเหลือลู กหนี้ที่ได้รับผลกระทบเป็ นรายกรณีไป (ไม่ได้ให้การช่วยเหลือเป็ นการทั่วไป) จึงอาจช่ วยบรรเทาผลกระทบของการแพร่ ระบาดต่อครัวเรือนได้ตรงจุดกว่ าการลดอัตราดอกเบี้ยเป็นการทั่ วไป ที่อาจส่งผลต่อเสถียรภาพสถาบั นการเงิน และประสิทธิภาพของการส่งผ่ านนโยบายอีกด้วย สำหรับในระยะต่อไป คาดว่าอาจมีการผ่อนคลายเกณฑ์ ของมาตรการสินเชื่อดอกเบี้ยต่ำ (soft loan) เพื่อจูงใจให้มีการปล่อยกู้ มากขึ้น โดยอาจมีการพิจารณาเพิ่มวงเงิ นที่สถาบันการเงินสามารถปล่อยกู้ ได้ ปรับเพิ่มอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ ของสถาบันการเงิน และรัฐบาลอาจ
เข้ามาช่วยชดเชยความเสียหายมากขึ้น