มิติหุ้น – รายงานมูลค่าผลตอบแทนการลงทุ
ข้อมูลสำหรับประเทศไทยเริ่มขึ้
มุมมองในระยะยาว
- หุ้นให้ผลตอบแทนดีที่สุ
ดในระยะยาว ในช่วง 122 ปีที่ผ่านมาตลาดหุ้นทั่วโลกได้ ให้ผลตอบแทนตามจริงในแต่ละปีสู งถึงร้อยละ 5.3 ในขณะที่ตราสารหนี้ให้ ผลตอบแทนร้อยละ 2.0 และพันธบัตรให้ผลตอบแทนร้อยละ 0.7 ต่อปี - หุ้นยังคงให้ผลตอบแทนที่โดดเด่
นกว่าตราสารหนี้ พันธบัตร และอัตราเงินเฟ้อใน 35 ประเทศ โดยในปีพ.ศ. 2443 ตลาดหุ้นทั่วโลกให้ผลตอบแทนสู งกว่าพันธบัตรถึงร้อยละ 4.6 และสูงกว่าตราสารหนี้ถึงร้อยละ 3.2 ต่อปี - ในอนาคต ผู้เขียนคาดการณ์ว่าส่
วนชดเชยความเสี่ยงจากการลงทุ นในหุ้นสามัญจะอยู่ที่ประมาณร้ อยละ 3.5 ซึ่งต่ำกว่าในอดีตที่ผ่านมาเล็ กน้อยที่ร้อยละ 4.6 - ด้วยส่วนชดเชยร้อยละ 5 นักลงทุนในหุ้นทุนยังคงคาดหวั
งที่จะเพิ่มเงินเป็นสองเท่าในพั นธบัตรรัฐบาลระยะสั้นในอีก 20 ปี - ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2443 สหรัฐอเมริกาเป็นตลาดหุ้นที่ให้
ผลตอบแทนดีที่สุด ด้วยผลตอบแทนตามจริงเฉลี่ยสูงถึ งร้อยละ 7 ต่อปี โดยส่วนแบ่งในตลาดหุ้นทั่ วโลกได้เพิ่มขึ้นถึง 4 เท่าที่ร้อยละ 60 - ในอดีตที่ผ่านมา การกระจายความเสี่ยงในหุ้น ประเทศ และสินทรัพย์ ทำให้ความสัมพันธ์ระหว่
างความเสี่ยงของการลงทุนกั บผลตอบแทนที่ได้รับ (Risk-Return Tradeoff) มีอัตราส่วนที่สูงขึ้นอย่างมาก และในอนาคตก็ยังคงให้ผลตอบแทนที่ สูงเช่นกัน
ข้อควรสังเกตในระยะสั้น: วัฏจักรอัตราเงินเฟ้อและการปรั
- ในปีพ.ศ. 2563 อัตราเงินเฟ้อเฉลี่ยของ 21 ประเทศในรายงานซึ่งมีประวัติ
ทางการเงินในอดีตที่ผ่านมานับตั้ งแต่ปีพ.ศ. 2443 อยู่ที่ร้อยละ 4 ซึ่งถือว่าต่ำที่สุดนับตั้งแต่ ปีพ.ศ. 2477 และในปีพ.ศ. 2564 อัตราเงินเฟ้อเฉลี่ยได้เพิ่มขึ้ นเป็นร้อยละ 4.4 - เงินเฟ้อเป็นปัญหาหลัก โดยในสหรัฐอเมริกาเงินเฟ้อสู
งเกินร้อยละ 7 ส่วนในสหราชอาณาจักรและเยอรมนี อยู่ที่ร้อยละ 5 - รายงานยืนยันว่าตราสารหนี้มีมู
ลค่าต่ำในช่วงของเงินเฟ้อ แต่อัตราเงินเฟ้อที่สูงก็ส่ งผลกระทบต่อหุ้นด้วยเช่นกัน - ตราสารทุนไม่ได้ป้องกันความเสี่
ยงจากเงินเฟ้อ กล่าวคือผลตอบแทนตามจริ งของตราสารทุนมีความสัมพันธ์เชิ งลบกับอัตราเงินเฟ้อ - อย่างไรก็ตาม หากกล่าวถึงส่วนชดเชยความเสี่
ยงจากการลงทุนในหุ้นสามัญ หุ้นก็ยังเป็นตัวเลือกที่ดี สำหรับสถานการณ์เงินเฟ้อ - ข้อกังวลในปัจจุบันไม่ใช่แค่เงิ
นเฟ้อเพียงเรื่องเดียว แต่ยังรวมถึงนโยบายทางการเงินที่ เข้มงวดและการปรับขึ้นอั ตราดอกเบี้ยด้วย - ในศตวรรษที่ผ่านมา ผลตอบแทนสินทรัพย์ระยะยาวในสหรั
ฐฯ และสหราชอาณาจักรอยู่ ในสภาวะตกต่ำในช่วงที่อั ตราดอกเบี้ยอยู่ในช่วงขาขึ้น - หุ้นสหรัฐให้ผลตอบแทนตามจริ
งรายปีที่ร้อยละ 3 ในช่วงที่อัตราดอกเบี้ยขาขึ้น เมื่อเทียบกับร้อยละ 7 ในช่วงอัตราดอกเบี้ยขาลง - ตราสารหนี้สหรัฐให้ผลตอบแทนจริ
งต่อปีที่ 2 ในช่วงอัตราดอกเบี้ยขาขึ้น เมื่อเทียบกับร้อยละ 3.7 ในช่วงที่อัตราดอกเบี้ยต่ำ - สหราชอาณาจักรมีวงจรการปรับขึ้
นอัตราดอกเบี้ยเหมือนกับสหรั ฐอเมริกา - ในช่วงการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย การระบุสินทรัพย์ที่ดีนั้นเป็
นเรื่องยาก - ผลตอบแทนจากอุตสาหกรรม ผลตอบแทนจากการเสี่ยง และผลตอบแทนสินทรัพย์ระยะยาวที่
แท้จริงจะลดลงเมื่ออัตราดอกเบี้ ยสูงขึ้น
ในปีนี้คณะผู้เขียน ศาสตราจารย์ Elroy Dimson นักประวัติศาสตร์ทางการเงินที่
การกระจายความเสี่ยง
- การกระจายความเสี่ยงช่
วยลดความเสี่ยง นักลงทุนสามารถได้รั บผลตอบแทนเช่นเดิมที่ความเสี่ ยงต่ำกว่า หรือได้รับผลตอบแทนมูลค่าที่สู งขึ้นโดยมีความเสี่ยงเท่าเดิม อย่างไรก็ตาม ผู้เขียนได้โต้แย้งคำกล่าวที่ว่ าการมีหลักทรัพย์ 10-20 หลักทรัพย์สามารถรับประกั นการกระจายความเสี่ยงได้ดี - สภาวะในปัจจุบันที่มีความผั
นผวนและมีการสับเปลี่ยนของกลุ่ มลงทุนหรือการหมุนเวียนเงินลงทุ นที่สูงขึ้น เป็นแนวโน้มที่ดีสำหรับนักลงทุ นที่มีความกระตือรือร้น แต่ในการสร้างผลตอบแทนส่วนเพิ่ มของหลักทรัพย์ หรืออัลฟ่านั้น จำเป็นต้องใช้ทักษะอย่ างมากและต้องเผชิญกับความเสี่ ยงที่สูงขึ้น - โลกาภิวัตน์ทำให้การลงทุนในต่
างประเทศเป็นไปได้ง่ายขึ้น โดยในช่วง 50 ปีที่ผ่านมา การลงทุนในต่างประเทศสร้างอั ตราส่วนที่เปรียบเทียบระหว่ างความเสี่ยงเทียบกับผลตอบแทน (Risk Reward Ratio) สูงกว่าการลงทุนภายในประเทศ ในประเทศส่วนใหญ่ - อย่างไรก็ตาม ยังมีข้อยกเว้นบางประการ ในช่วง 50 ปีที่ผ่านมาในสหรัฐอเมริกานั
กลงทุนน่าจะได้รั บผลตอบแทนจากการลงทุ นในประเทศได้ดีกว่านอกประเทศ สะท้อนผลตอบแทนที่ดีเยี่ ยมและความผันผวนของตลาดหุ้นสหรั ฐที่ลดลง - ในอนาคต ผู้เขียนแนะนำนักลงทุนจากทุ
กประเทศ รวมทั้งสหรัฐอเมริกา ให้ลงทุนในต่างประเทศ ซึ่งวิธีนี้จะช่วยลดความเสี่ ยงของกลุ่มสินทรัพย์ (Portfolio Risk) และเพิ่มอัตราส่วนผลตอบแทนส่ วนเกินต่อส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Sharpe Ratio) ให้สูงขึ้น อย่างไรก็ตาม ผู้เขียนไม่ได้รับรองว่าสิ่งที่ กล่าวนั้นจะเกิดขึ้นจริง - นักลงทุนจากตลาดขนาดเล็
กและตลาดเกิดใหม่จะได้รั บผลตอบแทนจากการกระจายความเสี่ ยงทั่วโลกสูงกว่านักลงทุนที่ มาจากตลาดประเทศพัฒนาแล้ว แต่นักลงทุนจากตลาดประเทศพั ฒนาแล้วก็ยังควรแสวงหาการลงทุ นในตลาดเกิดใหม่ - นอกจากนี้ การกระจายความเสี่ยงข้ามกลุ่มสิ
นทรัพย์ยังช่วยลดความเสี่ยงได้ ความสัมพันธ์ระหว่างหุ้นกั บตราสารหนี้เชิงลบตั้งแต่ช่ วงปลายทศวรรษที่ 90 ทำให้หุ้นและตราสารหนี้สามารถป้ องกันความเสี่ยงของกันและกันได้ ตามธรรมชาติ อย่างไรก็ตาม ผู้เขียนไม่แนะนำให้นักลงทุ นอาศัยความต่อเนื่องของความสั มพันธ์ระหว่างหุ้นกับตราสารหนี้ เชิงลบนี้ - ผู้เขียนยังแสดงให้เห็นว่
าความสัมพันธ์มีแนวโน้มเพิ่มขึ้ นในตลาดหมี (Bear Market) และในช่วงวิกฤต แต่สรุปว่า ปัจจัยระยะสั้นดังกล่าวไม่ ควรเป็นปัญหาใหญ่สำหรับนักลงทุ นระยะยาว
ไฮไลท์สำคัญของตลาดเอเชียแปซิฟิ
จีน
ในฐานะประเทศที่มีประชากรมากที่
ญี่ปุ่น
ตลาดหุ้นญี่ปุ่นได้รั
สิงคโปร์
ข้อมูลของเราสำหรับสิงคโปร์มีขึ้
กลุ่มประเทศในรายงานประจำปีฉบั
รายงานมูลค่าผลตอบแทนการลงทุ
@mitihoonwealth
https://lin.ee/cXAf0Dp